วันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ความหมายของเศรษฐศาสตร์

เศรษฐศาสตร์ หมายถึง วิชาที่ศึกษากิจกรรมเศรษฐกิจของมนุษย์ในการเลือกหาทางที่จะใช้ปัจจัยการผลิต
ที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อตอบสนองความต้องการที่ไม่จำกัดของมนุษย์ รวมถึงการกระจายเเละบริโภคเเบ่ง
เป็น
เศรษฐกิจ (Economy) คือ การกระทำใด ๆ อันก่อให้เกิด การผลิต การจำหน่ายและการบริโภค ซึ่งความหมายในทางเศรษฐกิจจะแตกต่าง จากความหมายที่เข้าใจกันโดยทั่วไปบ้าง ดังนี้
การผลิต หมายถึง กระบวนการที่ทำให้เกิดมูลค่าเพิ่ม (Value Added) ทั้งที่เป็นมูลค่า หรือประโยชน์ใช้สอย (Use Value) และมูลค่าในการแลกเปลี่ยน (Exchange Value) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในการดำรงชีวิต เพราะฉะนั้นการผลิตจึงเป็นการสร้างคุณค่าของสินค้าที่สามารถสนองตอบความต้องการของมนุษย์ (Utility)
การสร้างคุณค่าของสินค้าที่สามารถตอบสนองความต้องการของมนุษย์นั้นได้พัฒนาการมาพอจะสรุปได้
การบริโภค เมื่อกล่าวขึ้นอย่างลอยๆ อาจหมายถึง การรับประทานอาหาร แท้จริงแล้วการบริโภคนั้นมีความหมายว่า การใช้สิ่งที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ต่อตัวเอง โดยสิ่งที่มีอยู่นั้นจะเสื่อมสภาพ ร่อยหรอ หรือหมดไปในชั่วระยะเวลาหนึ่ง และอาจต้องหาสิ่งใหม่มาเพิ่มเติมเมื่อต้องการใช้อีก มักใช้คู่กับคำว่า การอุปโภค หมายถึงการใช้สิ่งที่มีอยู่แต่จะไม่หมดไป หรือสามารถทดแทนได้เรื่อยๆ โดยไม่ต้องไปสรรหา รวมเป็น การอุปโภคบริโภค แต่ผู้ที่สามารถทำทั้งการบริโภคและการอุปโภคจะเรียกว่า ผู้บริโภค เพียงอย่างเดียว
ในทาง
เศรษฐศาสตร์ สินค้าและบริการสามารถนับเป็น สิ่งที่มีอยู่ ได้เช่นกัน ถึงแม้ว่าบริการจะเป็นเพียงนามธรรม แต่บริการก็สามารถเกี่ยวโยงกับรูปธรรมอื่นๆ ที่สามารถบริโภคได้ เราจึงพบเห็นคำว่า การบริโภคสินค้าและบริการ อยู่บ่อยๆการจำเเนกเเจกจ่าย ปัจจุบันคนไทย ให้ความสำคัญในเรื่องสุขภาพมาเป็นอันดับต้นๆ จากผลสำรวจของคนไทยในกลุ่มวัยทำงานมักจะมีชีวิตที่เร่งรีบอยู่เสมอ แต่ในขณะเดียวกันก็ยังเป็นกลุ่มที่พิถีพิถันกับการดูแลตัวเองและสุขภาพอีกด้วย ในเรื่องของกระดูกก็เช่นกัน คนไทยได้เริ่มหันมาใส่ใจในเรื่องของกระดูกเพิ่มมากขึ้น จึงเป็นที่มาของผลิตภัณฑ์นมแคลเซียมสูงแอนลีน เป็นผลิตภัณฑ์ที่ถือกำเนิดมาจากบริษัทฟอนเทียร่า แบรนด์ส จำกัด หรือแต่ก่อนรู้จักในชื่อ บริษัท นิวซีแลนด์ มิลด์ จำกัด ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศนิวซีแลนด์ และถือได้ว่าเป็นผู้นำด้านธุรกิจผลิตภัณฑ์นมและอาหาร โดยปัจจุบันเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์นมรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก ภายใต้ปรัชญาบริษัท คือ DAILY FOR LIFE มีการดำเนินงานในรูปแบบของเครือข่ายการจำหน่ายในกว่า 40 ประเทศทั่วโลกทั้งยุโรป และเอเชีย ในเอเชียสามารถทำรายได้ให้แก่บริษัทถึง 30 % 
สินค้า
ในปัจจุบัน เราอาจจะได้ยินคำว่า นาโน กันอย่างมากมาย จนดูเหมือนว่าเป็นการเติมคำนำหน้า เพื่อเพิ่มความน่าสนใจ และให้เกิดความทันสมัย เรื่องราวเกี่ยวกับความตื่นตัวทางด้านนาโนเทคโนโลยีเกิดขึ้นทั่วโลก ไม่เฉพาะแต่เพียงประเทศไทยเท่านั้น ทั้งงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การจดสิทธิบัตรต่างๆ หรือการผลิตสินค้าที่เกี่ยวข้องกับนาโนเทคโนโลยี หลายคนอาจจะคิดว่านาโนเทคโนโลยีเป็นเรื่องวิทยาศาสตร์ ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องไกลตัว หรือเข้าใจได้ยาก แต่สำหรับตอนนี้นาโนเทคโนโลยีได้เข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของมนุษย์เป็นจำนวนมาก บทความนี้จะเป็นการนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับนาโนเทคโนโลยี จากการรวบรวมข้อมูลล่าสุดโดย Project on Emerging Nanotechnologies ของสหรัฐอเมริกา พบว่าในปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ที่วางขายอยู่ตามท้องตลาดทั่วไป มากกว่า 500 รายการ ในการจัดกลุ่มสินค้าตามลักษณะการนำไปใช้งานแสดงให้เห็นว่า กลุ่มที่เป็นผลิตภัณฑ์ทางด้านสุขภาพมีจำนวนมากที่สุด ซึ่งคิดเป็นจำนวนมากกว่าร้อยละ 50 ของผลสำรวจทั้งหมด แผนภาพแสดงจำนวนสินค้าในแต่ละกลุ่ม แสดงดังรูปที่ 1 
บริการ
คือ สิ่งที่ให้ความพอใจกับเราได้เช่นกัน เเต่ไม่สามารถจับต้องได้ เอาไปไหนมาไหน ไปเป็นกรรมสิทธิ์ของ
ไม่ได้ เช่น บริการเกี่ยวกับความบันเทิงต่างๆ คุณไปดูหนัง ดูคอนเสิร์ต สวย ไปเที่ยวชายหาด,ล, ถือว่าเป็น
บริการเพราะคุณเอากลับบ้านด้วยไม่ได้(คุณเอาพระเอก ศิลปิน นักเเสดง ช่างตัดผม หมอฟัน พนักงานเสริมสวย ชายหาด ,ล, กลับบ้านด้วยไม่ได้) ความพอเข้าใจนะครับ
เศรษฐทรัพย์
ในภาควิชาเศรษฐศาสตร์มหาภาคเเละการบัญชี เป็นสิ่งที่ตรงข้ามกับการบริการเศรษฐทรัพย์ คือ สินค้าทาง
เศรษกิจที่สามารถจับต้องได้หรือมีคุณสมบัติทางกายภาพ รวมทั้งเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถโอนไปให้กับผู้
ซื้อได้เเละสามารถเปลี่ยนเจ้าของจากผู้ขายไปให้กับลูกค้าตกค่าง
ที่ดิน
ที่ดินที่มีหรือสังาหริมทรัพย์ประเภทพาณิชยการหรืออุตสาหกรรมที่ถูกปล่องปละละเลยใช้งานไม่สมค่าหรือถูกทิ้งร้างเเละเป็นเหตุให้การขยายการฟื้นฟูหรือการพัฒนาเมืองต้งอประสบความยุ่งยาก หรือในเเง่ของสิ่งเเวดล้อมถือเป็นที่ดินที่ยังมีมลภาวะหรือมีมลพิษค้าง
ปัจจัยการผลิต
ก็คือ สิ่งต่างๆ ต้องใช้ในกระบวนการสร้างสินค้าเเละบริการ ปัจจัยการผลิต คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง
นำมาใช้ในกระบวนการผลิต สินค้าหรือบริการเเต่ละชนิด ต้องการใช้ปัจจัยการผลิตที่เเตกต่างกัน เช่น การ ปลูกถั่วเขียวก็อย่างหนึ่ง การทอผ้าก็อีกอย่างหนึ่ง บริการทางการศึกษาก็อีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น ซึ่งสินค้าเเละบริการเเต่ละตัวก็จะมี ความสัมพันธ์ทางผลิตหรือเรียกว่าฟังก์ชั่นการผลิต(production function)ไม่เหมือนกัน เช่นปัจจัยการผลิตถั่วเขียว ก็คือ ที่ดิน เมล็ดพันธุ์ น้ำ ปุ๋ย จอบ อุปกรณ์การเกษตรอื่นๆ ตัวเกษตร เป็นต้น ส่วนปัจจัยการผลิต ผ้าผืน ที่ดิน โรงงาน เครื่องทอผ้า เส้นใย น้ำ ไฟฟ้า อุปกรณ์การผลิตต่างๆสาวโรงงาน เป็นต้นเเต่เนื่องจากการผลิตสินค้าเเละบริการต่างๆ ในโลกนี่มันมากมายหลายรายการมาก นักเศรษฐศาสตร์(พวกที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของเศรษฐกิจ)
เเรงงาน
หมายถึง ทรัพยาการมนุษย์ที่นำไปใช้ผลิตสินค้าเเละบริการต่างๆ ทั้งท้ใช้ความสามารถด้านกำลังกายเเละด้านสติปัญญา ได้เเก่ ผู้มีส่วนร่วมในกำรผลิตในทุกสาขาอาชีพ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น